Total Productive Maintenance เป็นกระบวนการแนวคิดในการดูแลรักษาแบบมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานอย่างสูงสุด
Lean Manufacturing คือ กระบวนการดำเนินงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิต ลดความสูญเปล่าที่ไม่จำเป็นในการทำงานในระบบการผลิตภายในโรงงาน
โลกแห่งปัญหาประดิษฐ์ (AI) เทคโนโลยีการเชื่อมต่อทรงประสิทธิภาพ 5G, เทคโนโลยีหุ่นยนต์ขั้นสูง (Advanced robotics), เทคโนโลยีระบุตัวตน (Biometric technology) และการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (Digital Transformation)
“โคบอท” หรือหุ่นยนต์ร่วมปฎิบัติการมาจากคำว่า Collaborative Robots เป็น “หุ่นยนต์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อปฎิบัติการร่วมกับมนุษย์ในภาคอุตสาหกรรม” เป็นเครื่องมือทุ่นแรงที่ใช้งานได้หลากหลาย มีน้ำหนักเบา สามารถทำงานร่วมกับมนุษย์ได้อย่างปลอดภัย เน้นการทำงานหยิบ จับ จัดเรียงชิ้นส่วนต่าง ๆ แม้กระทั่งผลิตชิ้นส่วนที่มีขนาดเล็กและต้องการความละเอียด
Robot Vision Measurement เป็นการใช้เครื่องมือวัดร่วมกับหุ่นยนต์ที่มีความแม่นยำสูงที่ผู้ควบคุมสามารถตรวจสอบปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ทั้งจากฝั่งหุ่นยนต์และเครื่องมือวัดเอง ในอนาคตมีโอกาสที่ระบบการวัดจะเปลี่ยนไปเป็นการใช้งานหุ่นยนต์เป็นส่วนใหญ่หรือทั้งโรงงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพ ความเร็ว และลดข้อผิดพลาดในการทำงาน
calibration หรือ การสอบเทียบ เป็นกระบวนการกำหนดความแม่นยำของเครื่องมือวัด โดยกระบวนการนี้เป็นการเปรียบเทียบค่าระหว่าง 2 เครื่องมือ คือเครื่องมือที่ต้องการเปรียบเทียบและเครื่องมือทางวิศวกรรมที่มีความแม่นยำสูง
ไดอัลเกจ หรือ ไดอัลอินดิเคเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดที่มีความเที่ยงตรงสูง เหมาะกับการใช้งานที่ต้องการวัดความเป็นระนาบ ความขนาน และระยะเยื้อง และมีค่าความแม่นยำสูงสุดถึง 0.01 มิลลิเมตร
“เครื่องมือวัด 3 มิติ CMM” ถูกนำมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมด้านการวัดระหว่างการผลิต ซึ่งสามารถควบคุมการผลิตได้ทันทีเมื่อเกิดความผิดพลาดเหมาะสำหรับวัดชิ้นงานที่ซับซ้อน โดยให้ค่าการวัดที่แม่นยำ สามารถตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานความละเอียดสูงได้อีกด้วย
การวัดอัตโนมัติ เป็นการนำเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่มีความแม่นยำสูงเข้ามาผสานกับการปฏิบัติงานของแรงงานช่วยลดต้นทุนที่เกิดจากการผลิต
IoT หรือ Internet of things เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้อุตสาหกรรมสามารถก้าวสู่ Industry 4.0 ซึ่งอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้ ช่วยในเรื่องการจัดเก็บข้อมูล ประมวลผล ส่งผลวิเคราะห์การทำงานได้แบบ Real-Time ช่วยในการวิเคราะห์การบำรุงรักษาเครื่องจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตให้ดียิ่งขึ้น
เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper) สามารถวัดได้ทั้งวัตถุทรงกระบอก และทรงตรงสามารถหาค่าการวัดได้ทั้งการวัดขนาดภายนอกวัตถุ ภายในวัตถุ ได้ละเอียดถึง 0.02 mm มีค่าความคาดเคลื่อนจากการวัดโดยเวอร์เนียร์อยู่ที่ 0.03 มม. เท่านั้น (สำหรับเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์พิสัย 0-150 มม.)
“ไมโครมิเตอร์” คือ 1 ใน เครื่องมือวัด พื้นฐานที่ทุกอุตสาหกรรมมี เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดขนาดได้ทั้งความกว้าง ยาว หรือความหนาของวัตถุที่มีขนาดเล็กมีความละเอียดสูง โดยบทความนี้จะพาไปรู้จัก พื้นฐานความรู้ของเครื่องมือ การเลือกใช้งาน และการดูแลรักษาไมโครมิเตอร์ (Micrometer) อย่างถูกวิธี